เว็บสล็อต , สล็อตแตกง่าย ‘วัคซีนซิโนแวค’ ถึงไทยวันนี้ 5 แสนโดส เดือนหน้ามาอีก 1 ล้านโดส

เว็บสล็อต , สล็อตแตกง่าย ‘วัคซีนซิโนแวค’ ถึงไทยวันนี้ 5 แสนโดส เดือนหน้ามาอีก 1 ล้านโดส

เว็บสล็อต , สล็อตแตกง่าย วันนี้ 24 เม.ย. 2564 คืบหน้าการจัดส่งวัคซีนซิโนแวค (Sinovac) นาย อนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ได้โพสต์ผ่านเฟซบุ๊กระบุว่า เช้านี้ วัคซีน sinovac มาถึงประเทศไทย 5 แสนโดส และ ได้รับแจ้งว่าภายในกลางเดือนพฤษภาคม จะมาอีก 1 ล้านโดส

กระทรวงสาธารณสุข จะเร่งกระจายวัคซีน ไปให้ประชาชนโดยเร็วที่สุด 

วันจันทร์ที่ 26 เมษายน นี้ ยา ฟาวิพิราเวียร์ จำนวน 2ล้านเม็ด จะมาถึงประเทศไทย และจะส่งไปให้โรงพยาบาล เพื่อรักษาผู้ป่วยทันที ขณะที่ น.ส.ไตรศุลี ไตรสรณกุล รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า ในช่วงเช้าของวันนี้นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรมว.สาธารณสุข ได้รับแจ้งจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องว่าวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ของซิโนแวค จากประเทศจีนอีก 5 แสนโดส ได้มาถึงประเทศไทยแล้ว รวมถึงขณะนี้ประเทศไทยได้รับวัคซีนซิโนแวครวมแล้ว 2.5 ล้านโดส และได้รับแจ้งทางผลิตว่าภายใจกลางเดือนพ.ค. 2564 จะจัดส่งอีก 1 ล้านโดส รวมเป็น 3.5 ล้านโดส

“รองนายกรัฐมนตรีระบุว่า หลังจากนี้กระทรวงสาธารณสุขจะเร่งดำเนินการตามขั้นตอนเพื่อกระจายวัคซีน ไปให้ประชาชนโดยเร็วที่สุด และนอกเหนือจากวัคซีนแล้วยังได้เร่งดำเนินการจัดหายาและเวชภัณฑ์ให้เพียงพอ โดยวันจันทร์ที่ 26 เม.ย. 2564 นี้ ยาฟาวิพิราเวียร์ จำนวน 2 ล้านเม็ด จะมาถึงประเทศไทยซึ่งจะได้ส่งไปให้โรงพยาบาล เพื่อรักษาผู้ป่วยทันที” น.ส.ไตรศุลี กล่าว

การที่กระทรวงสาธารณสุขเร่งจัดหาวัคซีน ยารักษาโรคโควิด-19 และเวชภัณฑ์ นี้เป็นไปตามที่ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและ รมว.กลาโหม มีข้อสั่งการให้เตรียมและจัดหาทุกส่วนให้เพียงพอต่อการดูแลรักษาผู้ป่วย เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชนว่ารัฐบาลสามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่างทั่วถึง ขณะเดียวกันก็ขอความร่วมมือประชาชนในการปฏิบัติตนตามมาตรการควบคุมโรคทั้งมาตรการส่วนบุคคล มาตรการองค์กร และมาตรการทางสังคมโดยเคร่งครัด เพื่อประสิทธิผลของการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค

ทั้งนี้ รัฐบาลมีเป้าหมายกการจัดหาวัคซีนเพิ่มเติม ให้ครบ 100 ล้านโดส เพื่อฉีดให้กับประชาชน 50 ล้านคน ภายในสิ้นปี 2564 ขณะที่วัคซีนส่วนที่ทยอยส่งเข้ามายังประเทศไทยแล้ว กระทรวงสาธารณสุขได้เร่งฉีดให้กับกลุ่มเป้าหมาย โดย ณ วันที่ 23 เม.ย. 2564 ผู้ที่ได้รับวัคซีนสะสม 964,825 โดส ใน 77 จังหวัดเป็นวัคซีนเข็มที่ 1 จำนวน 834,082 ราย และผู้ได้รับวัคซีนเข็มที่2(ครบโดส) 130,743 ราย

แลนด์มาร์คสำคัญที่พลาดไม่ได้ คือ ลานน้ำพุหน้าสยามพารากอน แนะนำว่ามีโอกาสต้องได้มาถ่ายรูปคู่กับน้ำพุ โดยมีฉากหลังเป็นรถไฟฟ้า BTS กำลังแล่นผ่าน

ความพิเศษของสยามพารากอน นอกจากอัดแน่นด้วยร้านค้าแบรนด์หรู ร้านอาหารแบรนด์ดังการันตีความอร่อยแล้ว ยังเป็นที่ตั้งของ สยามโอเชียนเวิลด์ Sea Life Bangkok เปิดโอกาสให้ชาวกรุงเทพสัมผัสสัตว์ทะเลใต้น้ำกลางกรุง

อย. ขึ้นทะเบียนวัคซีนแอสตร้าเซนเนก้าจากสยามไบโอไซเอนซ์แล้ว

นายแพทย์ไพศาล ดั่นคุ้ม เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา เปิดเผยว่า ตามที่บริษัท แอสตร้าเซนเนก้า (ประเทศไทย) จำกัด เป็นบริษัทผู้ผลิตวัคซีนโควิด-19 ที่มาขอขึ้นทะเบียนวัคซีนเป็นรายแรกกับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ซึ่งได้รับอนุมัติทะเบียนไปแล้วเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2564 นั้น บริษัทแอสตร้าเซนเนก้ายังได้เลือกประเทศไทยเป็นหนึ่งในฐานการผลิตวัคซีนโควิด – 19 ของโลกผ่าน บริษัท สยามไบโอไซเอนซ์ จำกัด ซึ่งมีความพร้อมรองรับการผลิตวัคซีนจำนวนมากเพื่อให้ประเทศไทยและประเทศอื่น สามารถเข้าถึงวัคซีนได้อย่างรวดเร็ว ภายใต้การกำกับดูแลและการถ่ายทอดเทคโนโลยีอย่างใกล้ชิดจากบริษัท แอสตร้า เซนเนก้า  เพื่อให้การพัฒนาและการผลิตวัคซีนเป็นไปตามมาตรฐานสากลและเป็นไปตามแผนที่กำหนด โดยมีการปรึกษาหารือกับ อย. มาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่การพัฒนาสถานที่ผลิต กระบวนการผลิตตัวยาสำคัญ และวัคซีน จนได้รับหนังสือรับรองมาตรฐาน GMP จาก อย. และดำเนินการผลิตตัวยาสำคัญและวัคซีนโควิด-19 พร้อมเก็บข้อมูลเพื่อเตรียมการยื่นเพิ่มสถานที่ผลิตวัคซีน

ทั้งนี้ บริษัท แอสตร้า เซนเนก้าได้จัดส่งข้อมูลกระบวนการผลิต การควบคุมคุณภาพการผลิตของวัคซีนโควิด-19 ของสถานที่ผลิต บริษัท สยามไบโอไซเอนซ์ จำกัด ต่อ อย. เมื่อวันที่ 9 เมษายน และ 19 เมษายน 2564  ที่ผ่านมา โดย อย. ทำการประเมินและพิจารณาข้อมูลอย่างรอบด้าน พบว่า ข้อมูลมีความครบถ้วน มีคุณภาพ  ซึ่งสามารถพิสูจน์ได้ว่าคุณภาพของวัคซีนแอสตร้าเซนเนก้า ที่ผลิตจาก บริษัท สยามไบโอไซเอนซ์ จำกัด มีความทัดเทียมกับคุณภาพวัคซีนที่ผลิตจากสถานที่ผลิตในประเทศอิตาลีที่ขึ้นทะเบียนไว้แต่ต้น ดังนั้น อย. จึงได้อนุมัติเพิ่มสถานที่ผลิตวัคซีนโควิด-19 ของบริษัทแอสตร้าเซนเนก้า จากสถานที่ผลิตโดยบริษัท สยามไบโอไซเอนซ์ จำกัด     ในวันที่ 23 เมษายน 2564 นี้  ซึ่ง อย. มีความยินดีอย่างยิ่งที่มีส่วนสำคัญช่วยให้ประเทศไทยจะได้ใช้วัคซีนป้องกันโควิด-19 ที่ผลิตโดยคนไทย เพื่อคนไทย โดยเร็ว

เลขาธิการฯ อย. กล่าวเพิ่มเติมในตอนท้ายว่า สำหรับความคืบหน้าของการพิจารณาอนุญาตวัคซีน  โควิด-19 ซึ่ง อย. ได้มีการอนุมัติไปแล้ว 3 ราย คือ วัคซีนแอสตร้า เซนเนก้า โดยบริษัท แอสตร้า เซนเนก้า (ประเทศไทย) จำกัด วัคซีนโคโรนาแวค ของบริษัท ซิโนแวค นำเข้าโดยองค์การเภสัชกรรม และวัคซีนจอห์นสันแอนด์ จอห์นสัน โดยบริษัท แจนเซ่น-ซีแลค จำกัด และอยู่ระหว่างประเมินคำขอขึ้นทะเบียน 1 ราย คือ วัคซีนของบารัต โดยบริษัท ไบโอจีนีเทค จำกัด ทั้งนี้ อย. ได้มีการติดต่อประสานงานรวมทั้งตอบข้อซักถามของผู้ประกอบการที่สนใจมาขอขึ้นทะเบียนวัคซีน และล่าสุดทราบว่ามีผู้ประกอบการที่อยู่ระหว่างจัดทำข้อมูลคำขอขึ้นทะเบียนยื่นต่อ อย. อีก  ๒ ราย ได้แก่ วัคซีนสปุตนิค V โดยบริษัท คินเจน ไบโอเทค จำกัด และวัคซีนของโมเดอร์นา โดยบริษัท ซิลลิค ฟาร์มา จำกัด ซึ่ง อย. มีความพร้อมในการพิจารณาอนุมัติวัคซีนเพื่อให้คนไทยได้มีวัคซีนใช้โดยเร็ว